บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2017

Basic Network เรื่องพื้น ๆ ของการสื่อสารในโลกออนไลน์ ตอนที่ 1

รูปภาพ
      ที่บทความ Basic Network เกิดขึ้นมาได้ เพราะในปัจจุบันนี้ได้มีเทคโนโลยีตัวหนึ่งที่เข้ามาบทบาทในบ้านเราอย่างมาก และก็เป็นส่วนสำคัญในเทคโนโลยีอุตสาหกรรม นั่นก็คือ Internet of Things นั่นเอง แต่ว่าในปัจจุบันเทคโนโลยีเหล่านี้สามารถใช้งาน หรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างง่ายมาก จึงทำให้นักพัฒนาหน้าใหม่หลายคน ละเลยที่จะศึกษาพื้นฐาน ซึ่งมันสำคัญมาก ๆ เลยนะ เพราะงั้นเจ้าของบล็อกจึงอยากเขียน ซีรี่ย์บทความ Network พื้นฐานขึ้นมา เพื่อให้นักพัฒนามือใหม่หลาย ๆ คน ได้เรียนรู้ และ เข้าใจพื้นฐานของ Network มากขึ้น

คณิตศาสตร์กับโปรแกรมมิ่งมันเป็นยังไงนะ ตอนที่ 1 เกริ่นพีทาโกรัส

รูปภาพ
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส       พีทาโกรัสเป็นอีก 1 เนื้อหาที่ส่วนตัวเจ้าของบล็อกเองอยากจะทำความเข้าใจกับเรื่องนี้มาก ๆ เช่นกัน เพราะงั้นก็เลยเอาเป็นบทความแรกของซีรี่ย์เลยแล้วกัน ฮ่า ๆ       อย่างที่รู้ ๆ กันว่า พีทาโกรัสเป็น 1 ในเจ้าพ่อคณิตศาสตร์คนนึงที่ทำให้มนุษย์อย่างเรา ๆ ต้องปวดหัว จนต้องร้องขอให้ไปตัดหัวเจ้าพ่อคนนี้ซะ แต่ถ้าไม่มีเจ้าพ่อคนนี้ความก้าวหน้าทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ก็คงไม่ก้าวหน้าเหมือนอย่างปัจจุบันนี้ พอหลังจากที่พีทาโกรัสได้ค้นพบความสัมพันธ์เลขาคณิต ระหว่างด้านทั้ง 3 ของ 3 เหลี่ยมที่มี 2 ด้านต่อกันเป็นมุมฉาก จนได้ออกมาเป็นสมการคณิตศาสตร์       ซึ่งจากที่เจ้าของบล็อกได้ลองศึกษาดูเขาบอกว่า พีทาโกรัสเนี่ยเป็นชาวกรีก และพยายามค้นหาว่าโลกนี้สร้างขึ้นมาได้อย่างไร จึงได้ออกเดินทางไปที่ต่าง ๆ จนมาเจอพีระมิดที่อียิปต์ และได้สังเกตุเห็นสามเหลี่ยมอย่างง่าย บนตัวพีระมิด ซึ่งมองเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านสองด้านทำมุมฉากกันอยู่ (คือชาวบ้านปกติเค้าไม่ได้มองเหมือน-ันไง) จึงได้ศึกษามัน จนค้นพบความมหัศจรรย์ของรูปเรขาคณิต       จากการค้นพบสมการนี้ ได้ม

คณิตศาสตร์กับโปรแกรมมิ่งมันเป็นยังไงนะ

รูปภาพ
      ก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนว่าซีรี่ย์บทความนี้ เหมาะกับผู้อ่านตั้งแต่ไม่เก่งเรื่องคณิตศาสตร์เลย เพราะเจ้าของบล็อกเองก็ไม่เก่งคณิตศาสตร์เหมือนกัน แต่เพราะว่าคณิตศาสตร์มันเป็นเรื่องที่จำเป็นที่จะต่อยอดการเขียนโปรแกรม ให้มีประสิทธิภาพ และถือว่าเป็นตัวปลดล็อคสกิลการเขียนโปรแกรมให้ยกระดับขึ้นไปอีก

ว่าด้วยเรื่องหน่วยความจำ สิ่งที่หลายคนมองข้าม : Optimization

รูปภาพ
" The memory is the first thing to go. " ใครก็ไม่รู้ ได้กล่าวไว้        นี่น่าจะเป็นบทความสุดท้ายสำหรับ Serial บทความเกี่ยวกับ Memory ในบทความนี้จะขอพูดถึงวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับวิธีจัดการกับหน่วยความจำอันน้อยนิดของ Microcontroller ของเรา

ว่าด้วยเรื่องหน่วยความจำ สิ่งที่หลายคนมองข้าม : Stack Overflow & EEPROM

รูปภาพ
      ตอนนี้ก็ดำเนินการมาถึงตอนที่ 4 เรียบร้อยแล้ว ใกล้จบแล้ว ๆ คิดว่าคงไม่เกิน 5 ตอนหรอกมั้ง (ฮ่า ๆ) เพราะยังเหลือเรื่อง EEPROM แล้วก็การ Optimize code กันอีกนิดหน่อย       แต่ก่อนจะเริ่มเนื้อหาถัดไป อยากพูดเรื่อง stack overflow อีกนิดนึง เพิ่มเติมจากบทความก่อนหน้านี้ ซึ่งเป็นตัวอย่างปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ Very deep recursion การเรียก function ซ้ำ ๆ ที่มีความลึกมากเกินไป บางทีอาจจะต้องใช้เวลาค่อนข้างนาน กว่าที่ program จะประมวลผลเสร็จ เดี๋ยวเจ้าของบล็อกจะลองเขียนกับ ESP8266 12e ดูนะว่าจะมีผลยังไง       เดี๋ยวเรามาดูว่าผลลัพธ์จะเป็นยังไง ส่ง 10 เข้าไปใน Fibonacci function       โอเคผลลัพธ์ก็จะออกมาประมาณนี้นะครับ จะยังเห็นว่า process การทำงานยังใช้เวลาไม่ถึง 1 วินาทีเลย ใครที่สงสัยเรื่อง fibonacci อ่านเพิ่มเติม ตรงนี้ได้นะ  ทีนี้เราลองมาค่อย ๆ เพิ่มค่าที่จะส่งไปให้ดีกว่า ส่ง 20 เข้าไปใน Fibonacci function ส่ง 30 เข้าไปใน Fibonacci function       โอ้วว มาถึงตรงนี้ โปรแกรมมันใช้เวลาประมวลผลเกือบครึ่งวินาทีเลยแฮะ แต่ยัง ยังไม่หมดหรอก เราจะลองต่อกั

ว่าด้วยเรื่องหน่วยความจำ สิ่งที่หลายคนมองข้าม : Stack

รูปภาพ
      ก็มาถึงกับบทความตอนที่ 3 กันแล้วว ในบทความนี้เจ้าของบล็อกก็จะขอขึ้นต้นเกี่ยวกับเรื่องของ Stack เป็นเรื่องที่เราติดค้างกันไว้ในบทความก่อนหน้านี้

Portfolio

รูปภาพ
ทีมพัฒนาหุ่นยนต์ทศกัณฑ์จาก HONEYLab

Pointer กับตัวแปร Array นะจ๊ะ.. [Back to basic แต่ไม่ basic]

รูปภาพ
     บทความเกิดเพราะเร็ว ๆ นี้เจ้าของบล็อกกำลังจะสอนน้องพอดี วันนี้ก็เลยกลับไป Back to basic อีกครั้ง แต่เพราะกลับมา Back to basic นี่แหละ ทำให้เจ้าของบล็อกเข้าใจในเรื่อง Pointer ขึ้นอีกนิดนึง ก็เลยจะเอามาแชร์กัน