บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2016

ว่าด้วยเรื่องหน่วยความจำ สิ่งที่หลายคนมองข้าม : Static & Heap

รูปภาพ
      จากบทความที่แล้ว ว่าด้วยเรื่องหน่วยความจำ สิ่งที่หลายคนมองข้าม ตอนที่ 1  เราพึ่งจะได้รู้จัก memory แต่ละชนิดของ controller กันไปเอง ถ้าถามหาความสำคัญก็ยังตอบไม่ได้ จริงมั้ย? เพราะที่ผ่านมาก็แค่บอกว่า memory ส่วนนี้ ๆ ทำอะไร แต่เอาเข้าจริงก็ยังไม่เห็นความสำคัญอยู่ดี บทความนี้เราก็เลยจะต่อกัน

ว่าด้วยเรื่องหน่วยความจำ สิ่งที่หลายคนมองข้าม : รู้จักกับ Memory

รูปภาพ
      คุณรู้หรือเปล่าว่าปัญหา memory เกิดขึ้นเมื่อไหร่? แน่นอนว่าหลาย ๆ คนคงมองข้ามสำหรับปัญหานี้ ซึ่งเราอย่าลืมว่าการเขียนโปรแกรมบน Microcontroller มันไม่ได้มีหน่วยความจำอะไรมากมายเหมือนกับคอมพิวเตอร์เลย มันเลยกลายเป็นเรื่องราวที่ทำให้เจ้าของบล็อกอยากเขียนบทความนี้ขึ้นมา

มาออกแบบ Protocol ไว้สื่อสารกันเถอะ

รูปภาพ
        วันนี้ดันมีอารมณ์อยากเขียนบทความนี้ขึ้นมา  จริง ๆ เป็นเรื่องที่ค่อนข้างเจอบ่อยในการสื่อสารข้อมูลของเจ้าตัว Arduino ก็คือ Serial เจ้าของบล็อกเคยเขียนบทความที่คล้าย ๆ กับบทความนี้ไว้ในบทความ  อยากส่ง int ผ่าน Serial ไว ๆ ทำไงดี :D แต่ในบทความนี้จะเป็นการออกแบบ Packet ซึ่งปรกติแล้วจะนิยมออกแบบกับการสื่อสารแบบ Bus ( ถ้ามีพื้นฐานพวก bit operator พวกนี้มาบ้าง น่าจะทำให้อ่านเข้าใจยิ่งขึ้น มั้งนะ)

มาเริ่มต้นกันกับ NodeMcu v.2 ตอนที่ 3 การควบคุมเปิดปิด LED ผ่าน Internet ด้วย NodeMcu (New Update !!)

รูปภาพ
         จากบทความ มาเริ่มต้นกันกับ NodeMcu v.2 ตอนที่ 3 การควบคุมเปิดปิด LED ผ่าน Internet ด้วย NodeMcu   เป็นบทความเนื้อหาเก่าที่มีวิธีการเขียนโค้ดที่ไม่ Optimize มากพอ จึงเป็นปัญหาให้กับผู้อ่านหลาย ๆ คน ซึ่งตอนนี้เจ้าของบล็อกได้มีโอกาศได้เขียน Library ขึ้นมาเพื่อให้การสื่อสารข้อมูลในแบบ RESTful API ทำได้ง่ายขึ้น ซึ่ง Library ที่ว่านี้สามารถโหลดได้จาก RESTfulESP8266   ส่วน Library อีกตัวนึงก็คือ ArduinoJson ตัวนี้จะทำหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปแบบ Json ให้ใช้งานได้ง่ายมากขึ้น  โหลดได้จาก  ArduinoJson  

ประกาศปรับปรุงเนื้อหาบล็อก ~

ตามหัวข้อเลย เนื่องจากว่าบทความบางบทความของบล็อกนี้อาจจะมีเนื้อหาเก่าบ้าง หรือโค้ดบางอย่างอาจจะยังไม่ดีพอ ในเร็ว ๆ นี้เจ้าของบล็อกเลยอยากจะปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนหรือเพิ่มเติมบางอย่างให้บทความมีเนื้อหาที่ไม่เก่าเกินไป :) รอติดตามได้เลยครับผม

มาทำวงจรเปิดปิด LED ด้วย Sensor LDR กันเถอะ ตอนที่ 2

รูปภาพ
จากตอนที่ 1 มาทำวงจรเปิดปิด LED ด้วย Sensor LDR กันเถอะ ตอนที่ 1 เราได้รู้จักกับ concept การทำวงจร แล้วก็ comparator ไปกันบ้างแล้ว และพวกคำนวณเกี่ยวกับตัวต้านทานด้วย แต่ว่าตอนนี้เรายังคำนวณกันยังไม่เสร็จเลยนี่สิ เพราะว่าเรายังเหลือแรงดัน Input reference กันอยู่ แล้วเราจะสร้างแรงดัน reference ขึ้นมาได้ยังไง มาต่อกันเลย

มาทำวงจรเปิดปิด LED ด้วย Sensor LDR กันเถอะ ตอนที่ 1

รูปภาพ
วันนี้จะขอพูดถึงบทความ Electronic พื้นฐาน ๆ กันหน่อยครับ เพราะว่าบทความนี้เจ้าของบล็อกต้องเขียนให้สำหรับคนที่ยังไม่ค่อยรู้เรื่อง elec มากนัก ดังนั้นในบทความนี้เจ้าของบล็อกจะไม่พูดถึงเนื้อหาที่ดูลึกเกินไป จะพูดแค่ concept และวิธีเลือกคำนวณอุปกรณ์ electronic เพื่อทำวงจรนี้กันนะครับ :)   // การต่อวงจรจริง ๆ จะไปอยู่ตอน 2 นะ

Diode คืออะไร มารู้จัก Diode กันเถอะ (Electronic)

รูปภาพ
สวัสดีครับผม วันนี้เป็นบทความ Electronic พื้นฐาน ๆ กันหน่อยนะครับ เพราะว่าตอนนี้เจ้าของบล็อกกำลังเรียนเกี่ยวกับเจ้าตัว Diode อยู่พอดี ก็เลยอยากเขียนเกี่ยวกับ Diode ด้วยแหละครับว่ามันเป็นยังไง สำคัญยังไงกับวงจร Electronic จริง ๆ ก็พึ่งเรียนกันด้วยแหละครับ ผิดถูกยังไงก็ช่วยชี้แนะด้วยนะครับ :)