Class and Object แบบง่าย ๆ
ก่อนจะศึกษาภาษา java เจ้าของบล็อกกลัวมากว่าเรื่อง Class ต่าง ๆ เป็นเรื่องยากมาก กลัวจะไม่เข้าใจแต่พอได้ศึกษามันแล้วกลับไม่ใช่เรื่องยากเกินที่เราจะเข้าใจได้ ขอให้ผู้อ่านพี่พึ่งศึกษาหรือกำลังศึกษาลองพยายามซักนิดเพื่อที่จะเข้าใจมัน หลักการเขียน OOP ถ้าหากไม่เข้าใจเรื่อง class และ object จะทำให้ลำบากมากถ้าหากจะศึกษาในระดับสูง ๆ ต่อไป
class คือ ? เจ้าของบล็อกพยายามจะทำให้เข้าใจว่า class นึงนั้น จะเต็มไปด้วย Method มาก มาย หรืออาจจะเป็นพวกคุณสมบัติต่าง ๆ ภายใน class
class คือ ? เจ้าของบล็อกพยายามจะทำให้เข้าใจว่า class นึงนั้น จะเต็มไปด้วย Method มาก มาย หรืออาจจะเป็นพวกคุณสมบัติต่าง ๆ ภายใน class
จากในโค๊ด คือตัวอย่าง class แบบ simple ซึ่งมี method อยู่ 2 แบบ คือแบบที่มีการ return ค่ากลับ และไม่มีการ return กลับ
นี่คือ class แบบง่าย ๆ แต่ในหัวข้อคือเราพูดถึงเรื่อง class กับ object ยังไม่ลงลึกเรื่อง Method เอาไว้เป็นบทความหน้าละกันนะครับ
แล้ว object ละ ถ้าจะให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือ เป็นชื่อเล่น class นั่นเองครับ อย่าง class ข้างต้นนั้นเจ้าของบล็อกต้องการที่จะสร้าง object ขึ้นมาจะต้องเรียกอย่างงี้
Begin begin = new Begin();
ตอนนี้เจ้าของบล็อกก็ได้สร้าง object ขึ้นมาละ โดยตั้งชื่อให้มันว่า begin เมื่อเจ้าของบล็อกสร้าง object เสร็จแล้ว ต่อไปนี้เราก็สามารถใช้งาน method ต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน class ได้แล้ว และวิธีการเรียกใช้ก็จะประมาณนี้
Begin begin = new Begin();
begin.startOne();
begin.startTwo();
มาดู Code โดยรวมกัน
จากบทความนี้เจ้าของบล็อกอยากให้เข้าใจว่า class ก็เหมือน ๆ กับชั้นวางหนังสือชั้นนึงที่วางหนังสือต่าง ๆ อย่างเป็นหมวดหมู่ ตัวอย่างเช่น class ที่ชื่อ Math ภายใน class นี้ก็จะเต็มไปด้วยหนังสือ (method) ที่มีแต่คำนวณ อาจจะแยกเป็นการคำนวณต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน class
ส่วนการสร้าง Object ก็เหมือนกับว่าให้ผู้อ่าน มีสิทธิ์ที่จะสามารถหยิบหนังสือนั้น ๆ ขึ้นมาอ่านได้จากภายใน class นั้น ถ้าหากเราไม่สร้าง Object เราก็จะไม่สิทธิ์ที่จะใช้ คุณสมบัติต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน class นั้นได้ นอกจากจะกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงให้เป็น static ซึ่งไม่จำเป็นต้องสร้าง Object สามารถเรียกใช้งานได้เลย (ในเรื่อง static ไว้จะพูดในบทความต่อไป)
นี่คือ class แบบง่าย ๆ แต่ในหัวข้อคือเราพูดถึงเรื่อง class กับ object ยังไม่ลงลึกเรื่อง Method เอาไว้เป็นบทความหน้าละกันนะครับ
แล้ว object ละ ถ้าจะให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือ เป็นชื่อเล่น class นั่นเองครับ อย่าง class ข้างต้นนั้นเจ้าของบล็อกต้องการที่จะสร้าง object ขึ้นมาจะต้องเรียกอย่างงี้
Begin begin = new Begin();
ตอนนี้เจ้าของบล็อกก็ได้สร้าง object ขึ้นมาละ โดยตั้งชื่อให้มันว่า begin เมื่อเจ้าของบล็อกสร้าง object เสร็จแล้ว ต่อไปนี้เราก็สามารถใช้งาน method ต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน class ได้แล้ว และวิธีการเรียกใช้ก็จะประมาณนี้
Begin begin = new Begin();
begin.startOne();
begin.startTwo();
มาดู Code โดยรวมกัน
จากบทความนี้เจ้าของบล็อกอยากให้เข้าใจว่า class ก็เหมือน ๆ กับชั้นวางหนังสือชั้นนึงที่วางหนังสือต่าง ๆ อย่างเป็นหมวดหมู่ ตัวอย่างเช่น class ที่ชื่อ Math ภายใน class นี้ก็จะเต็มไปด้วยหนังสือ (method) ที่มีแต่คำนวณ อาจจะแยกเป็นการคำนวณต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน class
ส่วนการสร้าง Object ก็เหมือนกับว่าให้ผู้อ่าน มีสิทธิ์ที่จะสามารถหยิบหนังสือนั้น ๆ ขึ้นมาอ่านได้จากภายใน class นั้น ถ้าหากเราไม่สร้าง Object เราก็จะไม่สิทธิ์ที่จะใช้ คุณสมบัติต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน class นั้นได้ นอกจากจะกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงให้เป็น static ซึ่งไม่จำเป็นต้องสร้าง Object สามารถเรียกใช้งานได้เลย (ในเรื่อง static ไว้จะพูดในบทความต่อไป)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น