Project Robot Car Beta : Description
สวัสดีคร๊าบบ วันนี้เจ้าของบล็อกขอนำเสนอ ตัว Robot Car Beta กันนะครับ เจ้าตัวนี้ก่อนที่เจ้าของบล็อกจะหัดเขียน App android กับ Arduino นั้น เจ้าของบล็อกตั้งจุดประสงค์ของการศึกษาสิ่งเหล่านี้ก็เพื่อเจ้า Robot Car Beta ตัวนี้เลยย มันคือสิ่งแรกที่เจ้าของบล็อกอยากจะทำ คือต้องการควบคุมมันผ่าน App android มันเลยกลายเป็นจุดเริ่มต้นหลาย ๆ อย่างให้กับเจ้าของบล็อก
เอาละ ๆ เมื่อรู้คร่าว ๆ แล้ว ตอนนี้เจ้าของบล็อกจะแนะนำรายละเอียดในการควบคุม สิ่งที่ต้องใช้ก็คือ Android device --> Bluetooth SPP --> Arudino แล้วเวลาส่งข้อมูลละ?
แล้วเวลาส่งข้อมูลละ? การส่งข้อมูลจะส่งข้อมูลผ่าน Bluetooth SPP ครับ โดยส่งเป็นตัวอักษรไป ABC... abc... 123... @#!... จะเป็นข้อความ ตัวเลข หรือตัวอักขระพิเศษก็ได้ แต่แนะนำให้ดู ASCII Table ควบคู่ไปด้วย เพราะตัวอักษรที่ส่งไปจะถูกแปลงค่าให้อยู่ในระดับ Byte ซึ่งค่าที่ใช้ใน Byte นั้นจะมีไม่เกิน 127 ครับ
(ฝั่ง App android) ส่งตัวอักษร "A" ออกไป
(ฝั่ง Robot Car beta) รับค่าตัว "A" มา
ในส่วนนี้ก็รับค่าครับ สังเกตุ if(readData==65) ทำไมถึงเป็น 65 ? จริง ๆ แล้ว 65 ก็คือ "A" นั่นแหละครับแต่ว่าผมกำหนดตัวแปรให้รับค่ามาเป็นประเภท Integer ไม่ได้รับเป็นตัวอักษรหรือ String มันก็เลยเก็บแค่ค่าของตัวอักษรก็คือ 65 นั่นเอง ถ้าไปดูใน ASCII Table ก็จะเห็นเองครับว่าตัวอักษรต่าง ๆ มีค่าอะไรบ้าง
การรับค่าส่งค่าก็ประมาณนี้ครับ แต่ถ้าสงสัยโค๊ดแรกที่บอกไปมันคืออะไร มันก็คือการกดคลิ็กที่ Button ครับ ถ้าเกิดว่ามีการกด ก็จะให้ทำ Event ในการส่งค่าไป
ถ้าใครอยากจะศึกษาในส่วนแอพนี้ ก็มาศึกษาได้ ที่นี่ครับ แต่ถ้าใครสนใจในการเขียนแอพเพื่อส่งข้อมูลผ่าน Bluetooth ก็แนะนำตัวนี้เลย เปลี่ยนเรื่องบลูทูธให้เป็นเรื่องง่ายด้วย BluetoothSPP Library ครับ
ตัวนี้เป็นตัวอย่าง Robot Car Beta ของเจ้าของบล็อกนะครับ เป็นการควบคุมผ่านแอพธรรมดา ๆ การส่งข้อมูลก็อย่างที่อธิบายไปลองไปประยุกต์กันได้ครับ
ส่วนตัวนี้ก็อัปเกรดขึ้นมาหน่อย จริง ๆ ก็ไม่มีไรมาก เพิ่มโทรศัพมาอีกตัวนึง แล้วก็ลงแอพให้โทรศัพนี้สามารถจำลองตัวเองเป็น IP camera แล้วก็เขียนฝั่งแอพฝั่งควบคุมให้เชื่อมต่อผ่าน web โดยให้ connect ไปที่ IP ตัวโทรศัพท์นั้น
หลักการส่งค่าก็ประมาณนี้แหละครับไม่ว่าจะส่งผ่านโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมต่าง ๆ หรือผ่าน wifi เมื่อถูกส่งไปแล้วจะถูกแปลงข้อมูลให้อยู่ในระดับ Byte หวังว่าบทความนี้จะแนะนำอะไรดี ๆ ให้ผู้อ่านไม่มากก็น้อยนะครับ :)
เอาละ ๆ เมื่อรู้คร่าว ๆ แล้ว ตอนนี้เจ้าของบล็อกจะแนะนำรายละเอียดในการควบคุม สิ่งที่ต้องใช้ก็คือ Android device --> Bluetooth SPP --> Arudino แล้วเวลาส่งข้อมูลละ?
แล้วเวลาส่งข้อมูลละ? การส่งข้อมูลจะส่งข้อมูลผ่าน Bluetooth SPP ครับ โดยส่งเป็นตัวอักษรไป ABC... abc... 123... @#!... จะเป็นข้อความ ตัวเลข หรือตัวอักขระพิเศษก็ได้ แต่แนะนำให้ดู ASCII Table ควบคู่ไปด้วย เพราะตัวอักษรที่ส่งไปจะถูกแปลงค่าให้อยู่ในระดับ Byte ซึ่งค่าที่ใช้ใน Byte นั้นจะมีไม่เกิน 127 ครับ
(ฝั่ง App android) ส่งตัวอักษร "A" ออกไป
(ฝั่ง Robot Car beta) รับค่าตัว "A" มา
ในส่วนนี้ก็รับค่าครับ สังเกตุ if(readData==65) ทำไมถึงเป็น 65 ? จริง ๆ แล้ว 65 ก็คือ "A" นั่นแหละครับแต่ว่าผมกำหนดตัวแปรให้รับค่ามาเป็นประเภท Integer ไม่ได้รับเป็นตัวอักษรหรือ String มันก็เลยเก็บแค่ค่าของตัวอักษรก็คือ 65 นั่นเอง ถ้าไปดูใน ASCII Table ก็จะเห็นเองครับว่าตัวอักษรต่าง ๆ มีค่าอะไรบ้าง
การรับค่าส่งค่าก็ประมาณนี้ครับ แต่ถ้าสงสัยโค๊ดแรกที่บอกไปมันคืออะไร มันก็คือการกดคลิ็กที่ Button ครับ ถ้าเกิดว่ามีการกด ก็จะให้ทำ Event ในการส่งค่าไป
ถ้าใครอยากจะศึกษาในส่วนแอพนี้ ก็มาศึกษาได้ ที่นี่ครับ แต่ถ้าใครสนใจในการเขียนแอพเพื่อส่งข้อมูลผ่าน Bluetooth ก็แนะนำตัวนี้เลย เปลี่ยนเรื่องบลูทูธให้เป็นเรื่องง่ายด้วย BluetoothSPP Library ครับ
ตัวนี้เป็นตัวอย่าง Robot Car Beta ของเจ้าของบล็อกนะครับ เป็นการควบคุมผ่านแอพธรรมดา ๆ การส่งข้อมูลก็อย่างที่อธิบายไปลองไปประยุกต์กันได้ครับ
ส่วนตัวนี้ก็อัปเกรดขึ้นมาหน่อย จริง ๆ ก็ไม่มีไรมาก เพิ่มโทรศัพมาอีกตัวนึง แล้วก็ลงแอพให้โทรศัพนี้สามารถจำลองตัวเองเป็น IP camera แล้วก็เขียนฝั่งแอพฝั่งควบคุมให้เชื่อมต่อผ่าน web โดยให้ connect ไปที่ IP ตัวโทรศัพท์นั้น
หลักการส่งค่าก็ประมาณนี้แหละครับไม่ว่าจะส่งผ่านโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมต่าง ๆ หรือผ่าน wifi เมื่อถูกส่งไปแล้วจะถูกแปลงข้อมูลให้อยู่ในระดับ Byte หวังว่าบทความนี้จะแนะนำอะไรดี ๆ ให้ผู้อ่านไม่มากก็น้อยนะครับ :)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น